|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
31,0019,001,ปหานะ ๔ คือ บุคคลผู้แทงตลอดทุกขสัจ อันเป็นการแทงตลอดด้วยการกำหนดรู้
|
|
31,0019,002,ย่อมละกิเลสที่ควรละได้ ๑ บุคคลผู้แทงตลอดสมุทัยสัจ อันเป็นการแทงตลอดด้วยการละ ย่อมละ
|
|
31,0019,003,กิเลสที่ควรละได้ ๑ บุคคลผู้แทงตลอดนิโรธสัจอันเป็นการแทงตลอดด้วยการทำให้แจ้ง ย่อมละกิเลส
|
|
31,0019,004,ที่ควรละได้ ๑ บุคคลผู้แทงตลอดมรรคสัจ อันเป็นการแทงตลอดด้วยการเจริญ ย่อมละกิเลส
|
|
31,0019,005,ที่ควรละได้ ๑ ฯ
|
|
31,0019,006,ปหานะ ๕ คือ วิกขัมภนปหานะ ๑ ตทังคปหานะ ๑ สมุจเฉทปหานะ ๑ ปฏิปัสสัทธิ
|
|
31,0019,007,ปหานะ ๑ นิสสรณปหานะ ๑ การละนิวรณ์ด้วยการข่มไว้ ย่อมมีแก่บุคคลผู้เจริญปฐมฌาน การละ
|
|
31,0019,008,ทิฐิด้วยองค์นั้นๆ ย่อมมีแก่บุคคลผู้เจริญสมาธิอันเป็นไปในส่วนแห่งการชำแรกกิเลส สมุจเฉท
|
|
31,0019,009,ปหานะ อันเป็นโลกุตรมรรค และปฏิปัสสัทธิปหานะอันเป็นโลกุตรผล ในขณะแห่งผล ย่อม
|
|
31,0019,010,มีแก่บุคคลผู้เจริญมรรคเครื่องให้ถึงความสิ้นไป และนิสสรณปหานะเป็นนิโรธ คือ นิพพาน ฯ
|
|
31,0019,011,[๖๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงควรละ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สิ่งทั้งปวงควรละคือ
|
|
31,0019,012,อะไร คือ จักษุ รูป จักษุวิญญาณ จักษุสัมผัส สุขเวทนาทุกขเวทนา หรือแม้อทุกขมสุขเวทนา
|
|
31,0019,013,ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัยควรละทุกอย่าง
|
|
31,0019,014,หู เสียง ฯลฯ จมูก กลิ่น ฯลฯ ลิ้น รส ฯลฯ กาย โผฏฐัพพะฯลฯ ใจ
|
|
31,0019,015,ธรรมารมณ์ ฯลฯ มโนวิญญาณ ฯลฯ มโนสัมผัส ฯลฯ สุขเวทนาทุกขเวทนา หรือแม้อทุกขม
|
|
31,0019,016,สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็น ปัจจัยควรละทุกอย่าง ฯ
|
|
31,0019,017,เมื่อพิจารณาเห็นรูปโดยความเป็นของไม่เที่ยงเป็นต้น ย่อมละกิเลสที่ควรละได้ เมื่อ
|
|
31,0019,018,พิจารณาเห็นเวทนา ... สัญญา ... สังขาร ... วิญญาณ ... จักษุ ...ชราและมรณะ โดยความเป็น
|
|
31,0019,019,ของไม่เที่ยงเป็นต้น ย่อมละกิเลสที่ควรละได้ เมื่อพิจารณาเห็นนิพพานอันหยั่งลงสู่อมตะ [ด้วย
|
|
31,0019,020,ความเป็นอนัตตา] ด้วยความว่าเป็นที่สุด ย่อมละกิเลสที่ควรละได้ ธรรมใดๆ เป็นธรรมที่ละได้
|
|
31,0019,021,แล้วธรรมนั้นๆ เป็นอันสละได้แล้ว ชื่อว่าญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญา เพราะ
|
|
31,0019,022,อรรถว่ารู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือเครื่องรู้ชัด
|
|
31,0019,023,ธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรละ ชื่อว่าสุตมยญาณ ฯ
|
|
31,0019,024,จบตติยภาณวาร ฯ
|
|
31,0019,025,[๖๗] ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้ว
|
|
31,0019,026,นั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรเจริญ ชื่อว่าสุตมยญาณอย่างไร
|
|
|