File size: 4,537 Bytes
3c90236
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
Book,Page,LineNumber,Text
05,0014,001,ภิกษุณีนั้น ถ้าภิกษุณีจับต้อง ภิกษุเป็นผู้นิ่งไม่ไหวติงแต่ยินดีด้วยจิต พระวินัย- 
05,0014,002,ธรไม่ควรปรับภิกษุด้วยอาบัติ.    ถ้าภิกษุจับต้อง     ภิกษุณีเป็นผู้นิ่งไม่ไหวติง
05,0014,003,แต่ยินดี   (ยอมรับ)  ด้วยจิตอย่างเดียว  แม้ไม่ให้ส่วนแห่งกายไหว  พระวินัยธร
05,0014,004,ก็พึงปรับด้วยปาราชิกในเขตแห่งปาราชิก      ด้วยถุลลัจจัยในเขตแห่งถุลลัจจัย
05,0014,005,ด้วยทุกกฏในเขตทุกกฏ.    เพราะเหตุไร  ?  เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
05,0014,006,ยินดีการเคล้าคลึงด้วยกาย. นี้เป็นวินิจฉัย   ในอรรถกถาทั้งหลาย.  ก็เมื่อมีวินิจฉัย
05,0014,007,อย่างนี้    ความที่สิกขาบทนี้มีการทำเป็นสมุฏฐาน  ไม่ปรากฏให้เห็น  เพราะเหตุ
05,0014,008,นั้นความที่สิกขาบทมีการทำเป็นสมุฏฐานนั้น  บัณฑิตพึงทราบว่า  พวกอาจารย์
05,0014,009,กล่าวไว้โดยนัย     คือความที่สิกขาบทนั้นมีการทำเป็นสมุฏฐานทั้งนั้นเป็นส่วน
05,0014,010,มาก.                                                
05,0014,011,บทว่า   <B>อุพฺภกฺขกํ</B>   แปลว่า   เบื้องบนแห่งรากขวัญทั้งสอง.
05,0014,012,บทว่า   <B>อโธชานุมณฺฑลํ</B>  แปลว่า ภายใต้แห่งมณฑลเข่าทั้งสอง. อนึ่ง
05,0014,013,แม้เหนือข้อศอกขึ้นมา  ท่านก็สงเคราะห์เข้าด้วยเหนือมณฑลเข่าเหมือนกัน  ใน
05,0014,014,บทว่า  <B>อโรชานุมณฑลํ</B>  นี้.
05,0014,015,ในคำ  <B>เอกโต   อวสฺสุเต</B>  นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสคำว่า  <B>เอกโต</B>
05,0014,016,"ไว้โดยไม่แปลกกัน    แม้ก็จริง,    ถึงอย่างนั้น  บัณฑิตพึงทราบว่า  เมื่อภิกษุณีมี"
05,0014,017,ความกำหนัดเท่านั้น   ความต่างแห่งอาบัตินี้   พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสไว้.
05,0014,018,ในสิกขาบทนี้    มีวินิจฉัยตั้งแต่ต้นดังต่อไปนี้ :-   ภิกษุณีกำหนัดด้วย
05,0014,019,ความกำหนัดในการเคล้าคลึงกาย   ถึงบุรุษก็อย่างนั้นเหมือนกัน  เมื่อมีความยิน
05,0014,020,ดีในการเคล้าคลึงกาย   ในกายประเทศตั้งแต่รากขวัญลงมา  เหนือมณฑลเข่าขึ้น
05,0014,021,ไป   เป็นปาราชิกแก่ภิกษุณี.   ภิกษุณีมีความกำหนัดในการเคล้าคลึงกาย.   ฝ่าย
05,0014,022,บุรุษมีความกำหนัดไม่เมถุน  หรือมีความรักอาศัยเรือน  หรือมีจิตบริสุทธิ์ก็ตาม